13 เมษายน 2555

แนวปฏิบัติโดยสรุปของการตรวจลงตรา การขยายเวลาพำนักอยู่ในราชอาณาจักร และการออกใบอนุญาตทำงาน

แนวปฏิบัติโดยสรุปของการตรวจลงตรา การขยายเวลาพำนักอยู่ในราชอาณาจักร และการออกใบอนุญาตทำงาน


ให้แก่คนต่างด้าวที่เข้ามาทำงานในราชอาณาจักร



(จากการหารือระหว่างกรมการกงสุล สตม. กรมการจัดหางาน และ BOI เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2551)






as of 23 Feb 09

         

ลำดับ
ประเภทของคนต่างด้าว
การตรวจลงตรา
ของ สอท./สกญ.
การขยายเวลาพำนัก
ของ สตม.
การออกใบอนุญาตทำงาน
ของกรมการจัดหางาน
1
คนต่างด้าวที่เข้ามาทำงานกับบริษัทเอกชนที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน
Non-Immigrant “IB”
Single Entry
เมื่อมีหนังสือรับรองจาก BOI
ถึงบริษัทฯ มาแสดง
ใช้บริการที่
One Stop Service ได้
(ไม่เกิน 3 ชั่วโมง)

ระยะเวลาให้พำนัก
ตามที่ BOI อนุญาต
 ใช้บริการที่
One Stop Service ได้
(ไม่เกิน 3 ชั่วโมง)

อายุ Work Permit
ให้ตามที่ BOI อนุญาต
2
คนต่างด้าวที่เข้ามาทำงานกับบริษัทเอกชนอื่นๆ

Non-Immigrant “B”
Single Entry

เอกสารต่างๆ
ของบริษัทไทย

บางกรณีขอดู ตท.3

ใช้เวลาในการพิจารณาคำขอ
30 วัน นับถัดจากวันอนุญาตสิ้นสุด
(ยกเว้นกรณีที่สามารถยื่นขอ
อยู่ต่อฯ ที่ One Stop Service ได้)

อนุญาตครั้งละไม่เกิน 1 ปี
(แนวทางตามคำสั่ง ตร.
ที่ 777/2551 ลว. 25 พ.ย. 2551)
ใช้เวลา 7 วัน
ในการพิจารณาครั้งแรก
(ยกเว้นกรณีที่สามารถยื่นที่
One Stop Service ได้)

อายุ Work Permit
ไม่เกิน 2 ปี
3
คนต่างด้าวที่เข้ามาทำงานกับองค์การเอกชน (NGO)
ของต่างประเทศ

Non-Immigrant “O”
Single Entry

หนังสือรับรองการจ้างงาน
และเอกสารหลักฐานขององค์การฯ

(ไม่ต้องมีหนังสือรับรองว่า
ไม่มีประวัติอาชญากรรม)
อนุญาตให้อยู่ต่อฯ ครั้งละไม่เกิน
90 วัน  หากมีการรับรอง
และร้องขอจากหัวหน้าส่วนราชการระดับ 10 หรือเทียบเท่า ขึ้นไป
ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจขององค์กรนั้น
จะอนุญาตให้อยู่ต่อฯ
ครั้งละ ไม่เกิน 1 ปี

(แนวทางตามคำสั่ง ตร.
ที่ 777/2551 ลว. 25 พ.ย. 2551)
อายุ Work Permit
ไม่เกิน 2 ปี

องค์การละไม่เกิน 5 คน
(ไม่ต้องเปลี่ยนเป็น “B”)

- 2 -

         

ลำดับ
ประเภทของคนต่างด้าว
การตรวจลงตรา
ของ สอท./สกญ.
การขยายเวลาพำนัก
ของ สตม.
การออกใบอนุญาตทำงาน
ของกรมการจัดหางาน
4
คนต่างด้าวที่เข้ามาทำงานกับองค์การเอกชน (NGO)
ของไทย รวมถึงอาสาสมัครที่ไม่มีค่าตอบแทน

Non-Immigrant “O”
Single Entry

หนังสือรับรองการจ้างงาน
และเอกสารหลักฐานขององค์การฯ

(ไม่ต้องมีหนังสือรับรองว่า
ไม่มีประวัติอาชญากรรม)
อนุญาตให้อยู่ต่อฯ ครั้งละไม่เกิน
90 วัน  หากมีการรับรอง
และร้องขอจากหัวหน้าส่วนราชการระดับ 10 หรือเทียบเท่า ขึ้นไป
ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจขององค์กรนั้น
จะอนุญาตให้อยู่ต่อฯ
ครั้งละ ไม่เกิน 1 ปี
(แนวทางตามคำสั่ง ตร.
ที่ 777/2551 ลว. 25 พ.ย. 2551)
อายุ Work Permit
ไม่เกิน 2 ปี

ไม่มีข้อจำกัดเรื่องจำนวน

(ไม่ต้องเปลี่ยนเป็น “B”)
5
คนต่างด้าวที่เป็นสมาชิกของ Thailand Privilege Card (Elite) ที่ประสงค์จะทำงาน
ไม่ต้องยกเลิก
special entry visa ก่อน

ให้ Non-Immigrant “B”
Single Entry เพิ่มเติมได้
(ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์
ในการเดินทางเข้าแต่ละครั้ง) 
 ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์
ในการเดินทางเข้าแต่ละครั้ง
โดยดูจากประเภทการตรวจลงตราและเหตุผลที่ยื่นขออยู่ต่อ
ในราชอาณาจักร   
ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์
ในการเดินทางเข้าแต่ละครั้ง
6
คนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรโดยได้รับการตรวจ
ลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว รหัส O-A (Long Stay)

Non-Immigrant “O-A”
(Long Stay)
Multiple Entries

ประทับตรา
“Employment Prohibited”

รายงานตัวทุก ๆ 90 วัน กรณีอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน
อยู่ได้ครั้งละ 1 ปี
(ไม่ต้องทำ Re-entry Permit)
ไม่สามารถ
ทำงานได้

ไม่สามารถ
ทำงานได้
7
คนต่างด้าวที่เป็นคู่สมรสของคนไทย ได้รับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว รหัส “O” และประสงค์จะทำงาน   

N/A

ต้องมีหลักฐานในการขออยู่ต่อ
ว่ามีรายได้ในการอุปการะ
คู่สมรสคนไทย
จึงหมายความว่า ทำงานได้
ขอ Work Permit ได้
(ไม่ต้องเปลี่ยนเป็น “B”)







แนวปฏิบัติในการเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตราของ สตม. สำหรับคนต่างด้าวที่ประสงค์จะทำงาน





ลำดับ
ประเภทของคนต่างด้าว
แนวปฏิบัติของ สตม.
1
คนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรโดยได้รับการยกเว้น
การตรวจลงตรา (ผ.30  ความตกลงทวิภาคีฯ  และขอยกเว้นเฉพาะกรณี)
กฎกระทรวง พ.ศ. 2545 ข้อ 11 วรรค 3
ให้อำนาจ สตม. ดำเนินการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว
ให้ผู้ที่เข้ามาโดยได้รับการยกเว้นการตรวจลงตราได้
(เฉพาะผู้ถือหนังสือเดินทางธรรมดา)
2
คนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรโดยได้รับการตรวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว และเดินทางผ่าน 
กฎกระทรวง พ.ศ. 2545 ข้อ 11 วรรค 5
ให้อำนาจ สตม. เปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา
จากประเภทนักท่องเที่ยวและเดินทางผ่าน
เป็นประเภทคนอยู่ชั่วคราวได้
(เฉพาะผู้ถือหนังสือเดินทางธรรมดา)
3

คนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรโดยได้รับการตรวจลงตราประเภทอัธยาศัยไมตรี

ไม่สามารถเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา
ให้เป็นประเภทคนอยู่ชั่วคราวได้
4

คนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรแบบคนอยู่ชั่วคราว
ด้วยรหัสต่างๆ ที่ไม่ใช่รหัส “B”

สตม. ไม่มีอำนาจในการเปลี่ยน รหัส




http://www.consular.go.th/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น